ดีปลากั้ง
  ชื่อสามัญภาษาไทยดีปลากั้ง
  ชื่อวิทยาศาสตร์Phlogacanthus pulcherrimus T.Anderson
  ชื่อพ้องCystacanthus pulcherrimus C.B.Clarke
  ชื่อวงศ์Acanthaceae
  ชื่อท้องถิ่น
 
 
สรรพคุณทั่วไป

ตำรายาพื้นบ้านจังหวัดมุกดาหารจะใช้สมุนไพรดีปลากั้งเป็นยาบำรุงกำลัง (ยอดอ่อน)
ใบมีรสขมหวาน มีสรรพคุณช่วยคลายเครียด แก้เบาหวาน (ยอดอ่อน) 
ยอดอ่อนมีรสขมอ่อน ๆ ใช้รับประทานเป็นอาหาร มีสรรพคุณช่วยทำให้เจริญอาหาร (ยอดอ่อน)
ยาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานีจะใช้ส่วนของลำต้นดีปลากั้ง นำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาช่วยขับปัสสาวะ แก้ปัสสาวะขัด (ลำต้น)
ยอดใช้นึ่งรับประทานเป็นยาแก้ปวดหลัง (ยอดอ่อน)


 
 
แหล่งข้อมูลอ้างอิง

  • https://medthai.com/ดีปลากั้ง
  • ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.  “บีปลากั้ง”.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก : www.phargarden.com.  [13 ก.ย. 2015]. 
  • โครงการเผยแพร่ข้อมูลทรัพยากรชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นบนพื้นที่สูง, สถาบันวิจัยและพัฒนาที่สูง (องค์กรมหาชน).  “ดีปลากั้ง”.  อ้างอิงใน : หนังสือชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย (เต็ม สมิตินันทน์).  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก : eherb.hrdi.or.th.  [13 ก.ย. 2015]. 
  • สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  “พืชอาหารกับความยั่งยืนของสภาพนิเวศเกษตรในเขตพื้นที่ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา Foodplants and Sustainable Agro – Ecosystem at Phufa Patana Center, Nan Province”.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก : rdi.ku.ac.th.  [13 ก.ย. 2015]. 
  • ผู้จัดการออนไลน์.  “สุดยอดผักสุขภาพ เครื่องเคียงลาบ-น้ำตก”.  [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : www.manager.co.th.  [13 ก.ย. 2015].