โมก
  ชื่อสามัญภาษาไทยโมก
  ชื่อวิทยาศาสตร์Wrightia religiosa (Teijsm. & Binn.) Benth. ex Kurz
  ชื่อพ้องEchites religiosus Teijsm. & Binn., Wrightia religiosa (Teijsm. & Binn.) Benth.
  ชื่อวงศ์Apocynaceae
  ชื่อท้องถิ่นหลักป่า (ระยอง), โมกซ้อน โมกลา โมกบ้าน (ภาคกลาง), โมก โมกบ้าน โมกดอกหอม โมกกอ (ไทย), ปิดจงวา (เขมร-สุรินทร์)
 
 
สรรพคุณทั่วไป

  • เปลือกเป็นยาช่วยทำให้เจริญอาหาร (เปลือก)
  • ยางจากต้นใช้เป็นยาแก้โรคบิดที่มีอาการเลือดออก (ยาง)
  • ดอกเป็นยาระบาย (ดอก)
  • เปลือกช่วยรักษาโรคไต (เปลือก)
  • ใบใช้ขับน้ำเหลือง (ใบ)
  • ยางใช้เป็นยาแก้พิษงูและแมลงกัดต่อย (ยาง)
  • รากมีรสเมามัน ใช้ปรุงเป็นยารักษาโรคผิวหนังจำพวกโรคเรื้อนและคุดทะราด (ราก)

 
สรรพคุณเฉพาะส่วนของสมุนไพร
 
  รากตำคั้นน้ำ ดื่มถ่ายพยาธิ แก้ริดสีดวงทวารหนัก
 
วิธีใช้โดยทั่วไป



แหล่งข้อมูลอ้างอิง

  1. หนังสือสมุนไพรไทย เล่ม 1.  “โมกบ้าน (Mok Bann)”.  (ดร.นิจศิริ เรืองรังษี, ธวัชชัย มังคละคุปต์).  หน้า 247.
  2. หนังสือพจนานุกรมสมุนไพรไทย, ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5.  “โมกบ้าน”.  (ดร.วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม).  หน้า 649-650.
  3. ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  “โมกซ้อน”.  (นพพล เกตุประสาท).  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก: clgc.rdi.ku.ac.th.  [19 พ.ค. 2014].
  4. ฐานข้อมูลพรรณไม้ที่ใช้ในงานภูมิสถาปัตยกรรม ศูนย์ความรู้ด้านการเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  “โมกลา โมกซ้อน”.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก: agkc.lib.ku.ac.th.  [19 พ.ค. 2014].
  5. ศูนย์ข้อมูลกลางทางวัฒนธรรม, กระทรวงวัฒนธรรม.  “ต้นโมกไม้มงคล”.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก: m-culture.in.th.  [19 พ.ค. 2014].
  6. https://medthai.com/โมก/