ตะขบไทย
  ชื่อสามัญภาษาไทยตะขบไทย
  ชื่อสามัญภาษาอังกฤษCoffee plum, Indian cherry, Indian plum, East Indian plum, Rukam, Runeala plum
  ชื่อวิทยาศาสตร์Flacourtia jangomas (Lour.) Raeusch.
  ชื่อพ้องFlacourtia cataphracta Roxb. ex Willd.
  ชื่อวงศ์Salicaceae
  ชื่อท้องถิ่นครบ (ปัตตานี), มะเกว๋นควาย (ภาคเหนือ), ตะขบควาย (ภาคกลาง), กือคุ (มลายู ปัตตานี)
 
 
สรรพคุณทั่วไป

  • รากมีรสฝาดเล็กน้อย ใช้ปรุงเป็นยาขับเหงื่อ (ราก)
  • รากมีสรรพคุณเป็นยากล่อมเสมหะและอาจม (ราก)
  • เนื้อไม้มีรสฝาด ใช้ทำเป็นยาแก้ท้องร่วง แก้บิด มูกเลือด (เนื้อไม้)
  • เปลือก แก่น และใบ ใช้เป็นยารักษาอาการปวดเมื่อยตามตัว แก้โรคเหน็บชา รักษาอาการปวดข้อ แก้เส้นเอ็นพิการ (เปลือก, แก่น, ใบ)


 
 
แหล่งข้อมูลอ้างอิง

  • หนังสือพจนานุกรมสมุนไพรไทย, ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5.  (ดร.วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม).  “ตะขบไทย”.  หน้า 302.
  • พันธุ์ไม้ย้อมสีธรรมชาติ, กรมหม่อนไหม.  “ตะขบควาย”.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก : qsds.go.th/webtreecolor/.  [22 ธ.ค. 2014].
  • ฐานข้อมูลพรรณไม้ องค์การสวนพฤกษศาสตร์, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.  “ตะขบควาย”.  อ้างอิงใน : หนังสือไม้ต้นในสวน Tree in the Garden .  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก : www.qsbg.org.  [22 ธ.ค. 2014].
  • ผักพื้นบ้านและพืชสมุนไพร.  “ตะขบควาย”.  [ออนไลน์].  เข้าถึงได้จาก : www.sisaket.go.th.  [22 ธ.ค. 2014].
  • https://medthai.com/ตะขบไทย/