ชะเอมป่า
  ชื่อสามัญภาษาไทยชะเอมป่า
  ชื่อสามัญภาษาอังกฤษAlbizia myriophylla Benth.
  ชื่อวิทยาศาสตร์Glycyrrhiza glabra L. และ Glycyrrhiza uralensis Fisch.ex DC.
  ชื่อวงศ์Fabaceae
  ชื่อท้องถิ่นตาลอ้อย (ตราด), อ้อยสามสวน (อุบลราชธานี), ย่านงาย เซเบี๊ยดกาชา (ตรัง), อ้อยช้าง (สงขลา, นราธิวาส), ชะเอมป่า (ภาคกลาง), ส้มป่อยหวาน (ภาคเหนือ), เพาะซูโฟ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน), กอกกั๋น
 
 
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

    ต้นชะเอมป่า เป็นพืชยืนต้นชนิดหนึ่งแต่เป็นต้นไม้ขนาดกลาง
    ลักษณะใบชะเอมป่าเล็กเป็นฝอยละเอียด คล้ายกับต้นส้มป่อยต้นหยงหรือกระถิน

    ดอกสีขาวเป็นช่อลักษณะฟูดอกเล็กๆ ส่วนฝักนั้นมีลักษณะบิดงอมีหนามตามกิ่งก้านตลอดจนลำต้นด้วย ดอกมี ลักษณะพิเศษเพราะมีกลิ่นหอมส่วนเนื้อในของเนื้อไม้มีรสหวานแบบชะเอมจีน

สรรพคุณทั่วไป

ราก แก้กระหายน้ำ เป็นยาระบาย เนื้อไม้ ขับเสมหะ แก้ไอ รักษา เลือดออกตามไรฟัน ดอก ช่วยย่อยอาหาร
 
 
แหล่งข้อมูลอ้างอิง

http://www.the-than.com/samonpai/sa_27.html