|
ชื่อสามัญภาษาไทย | สะค้านแดง |
ชื่อที่เกี่ยวข้อง | จะค่าน หรือจะค่านจิ้น (พายัพ), สะค้าน หรือสะค้านเนื้อ (ภาคกลาง) ตะค้านเล็ก (ตราด) หรือ ตะค้านหยวก |
ชื่อวิทยาศาสตร์ | Piper interruptum Opiz (P. ribesoides Wall.) |
ชื่อวงศ์ | Piperaceae |
ชื่อท้องถิ่น | |
สะค้านแดงเป็นไม้เถา ขนาดกลาง ลักษณะเถากลมเลื้อย พาดพันต้นไม้อื่น เถาอ่อนสีเขียว เถาแก่สีน้ำตาลเทา เนื้อในเถามีหน้าตัดเป็นเส้นรัศมี สีขาว เปลือกค่อนข้างอ่อน ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ลักษณะใบรูปรีแกมรูปใบหอก ปลายใบแหลม โคนใบสอบคล้ายใบรางจืด ผิวใบเรียบและเป็นมันทั้งสองด้าน ใบมีสีเขียวสด ใบกว้าง 2 นิ้ว ยาวประมาณ 3-5 นิ้ว ดอก มีขนาดเล็ก ออกเป็นกระจุกตามซอกใบ ผล ลักษณะกลมติดเป็นพวง 10-15 ผล สีเขียว เมื่อแก่จะมีสีดำและมีเมล็ดด้วย | |
ตำราสรรพคุณยาโบราณว่า
นอกจากนั้นตำรายังว่าใบสะค้านมีรสเผ็ดร้อน
| |
| |
|